0

ตะแกรงเหล็กไวร์เมช 

KV WIRE MESH

ขอใบเสนอราคา

หจก. กุลรวี ผู้ผลิตและจำหน่ายเหล็กไวร์เมชมาตรฐาน มอก. ราคาประหยัด คุณภาพมาตราฐาน


ตะแกรงเหล็กกล้าเชื่อมติดเสริมคอนกรีต (KV Wire Mesh) สัญลักษณ์ลวดยืนและลวดขวาง CRD (ลวดเส้นกลม) และ CDD (ลวดข้ออ้อย) ผลิตจากเหล็กด้วยกระบวนการ ดึงเย็น หรือ รีดเย็น ที่ผ่านการรีดลดขนาดจนมีคุณสมบัติตาม มอก. 747-2531 ลวดเหล็กกล้าดึงเย็นเสริมคอนกรีต และ มอก. 943-2533 ลวดเหล็กกล้าข้ออ้อยดึงเย็นเสริมคอนกรีต ที่ได้กำหนดไว้ โดยใช้วัตุดิบชื่อว่า “เหล็กลวดคาร์บอนต่ำ” (Low Carbon Steel) หรือเรียกอีกอย่างว่า Wire Rods (มอก. 348-2540) ซึ่งเหล็กลวดคาร์บอนต่ำเหล่านี้ เมื่อผ่านกระบวนการรีดเย็นแล้ว จะทำให้มีความต้านทานแรงดึงที่จุดคราก (Yield Strength) โดยเฉลี่ยสูงถึง 5.500 Kg/cm2 (ค่าเฉลี่ยที่เกิดขึ้นในห้องทดลอง) ในขณะที่เหล็กเส้นธรรมดามีต้านทานแรงดึงที่จุดคราก 2.400 Kg/cm2 ด้วยเหตุนี้ตะแกรงไวร์เมช เมื่อนำมาใช้แทนเหล็กเส้น จึงสามารถประหยัดวัสดุลงได้มาก จากที่ต้องใช้เหล็กเส้นผูกมัดด้วยลวด ซึ่งวิธีนี้มักสร้างปัญหาต่อหน้างานอยู่บ่อยครั้ง ทั้งเรื่องการใช้เวลาที่มากเกินไป หรือความแข็งแรงของโครงสร้าง ซึ่งเกิดจากการมัดที่ไม่ได้มาตราฐาน


KV Wire Mesh

ประหยัดกว่า ผลิตจากเหล็กที่ผ่านกระบวนการรีดเย็น (Cold Drawn Steel Wire) ซึ่งทำให้เหล็กมีกำลังคราก (Yield Strength) มากกว่าเหล็กเส้นขนาดเดียวกันโดยทั่วไปถึงสองเท่าโดยเฉลี่ย จึงทำให้ช่วยลดปริมาณการใช้วัสดุและน้ำหนักโครงสร้างในอัตราเดียวกันได้ รวมไปถึงประหยัดทั้งแรงงานและเวลาในการผูกเหล็ก ซึ่งเป็นวิธีที่ใช้กันแต่เดิมได้ถึง 50-90% เลยทีเดียว อีกทั้งยังช่วยลดการสูญเสียที่เกิดจากหน้างานเนื่องจากการผูกเหล็กอีกด้วย


wire mesh

ตาตะแกรงไวร์เมช แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ


wire mesh

ตาตะแกรงรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสแบบลวดเดี่ยว
wire mesh

ตาตะแกรงรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าแบบลวดเดี่ยว

ลวดที่นำมาผลิตตะแกรงไวร์เมช

ขนาดเส้นลวดที่นำมาผลิตตะแกรงไวร์เมชของ KV และได้รับเครื่องหมายมาตราฐาน มอก. 737-2549 มี 2 ชนิด

ลวดเหล็กกล้าข้ออ้อยดึงเย็นเสริมคอนกรีต ขนาด 4.00 mm และ 6.00 mm

ลวดกลมเหล็กกล้าดึงเย็นเสริมคอนกรีตขนาด 4.00 mm 4.30 mm 4.60 mm 5.00 mm 5.30 mm 5.60 mm และ 6.00 mm


wire mesh

ลวดเส้นกลม
wire mesh

ลวดข้ออ้อย

ขนาดตาตะแกรงที่ผลิตโดย KV

ลำดับ ขนาดตาตะแกรง
1 20 x 20 x 2.00 x 50 x 2.80
2 20 x 20 x 2.00 x 10 x 3.00
3 20 x 20 x 2.00 x 50 x 3.00
4 20 x 20 x 3.00 x 50 x 3.00
5 25 x 25 x 2.00 x 50 x 3.00
6 25 x 25 x 2.50 x 50 x 3.00
7 25 x 25 x 3.00 x 50 x 3.00
8 30 x 30 x 2.00 x 50 x 3.00
9 30 x 30 x 2.50 x 50 x 3.00
10 30 x 30 x 3.00 x 50 x 3.00
11 10 x 30 x 2.00 x 50 x 3.00
12 10 x 30 x 2.50 x 50 x 3.00
13 10 x 20 x 3.00 x 50 x 3.00
14 20 x 20 x 2.00 x 50 x 3.40
15 20 x 20 x 2.50 x 50 x 3.40
16 20 x 20 x 3.00 x 50 x 3.40
17 20 x 20 x 2.00 x 50 x 3.80
18 20 x 20 x 2.50 x 50 x 3.80
19 10 x 30 x 2.00 x 50 x 3.80
20 10 x 30 x 2.50 x 50 x 3.80
21 20 x 20 x 2.00 x 50 x 4.00
22 20 x 20 x 2.50 x 50 x 4.00
23 20 x 20 x 3.00 x 50 x 4.00
24 25 x 25 x 2.00 x 50 x 4.00
25 10 x 30 x 2.00 x 50 x 4.00
26 10 x 30 x 2.50 x 50 x 4.00
27 10 x 30 x 3.00 x 50 x 4.00

การสั่งผลิตตะแกรงไวร์เมช KV

การรับงาน Order: รับที่ 3,000 ตารางเมตรขึ้นไป
ลวดขนาด 6.00 mm: รองรับขนาดตา 15 x 15 ขึ้นไป


รูปแบบการเขียน การสั่งผลิตตะแกรงไวร์เมชของ KV มีรูปแบบดังนี้

20 x 20 x 2.00 x 50 x 4.00 = 20 ม้วน

20 หมายถึง ความกว้างของตาตะแกรงไวร์เมช (ขนาดตาแนวนอน)

20 หมายถึง ความยาวของตาตะแกรงไวร์เมช (ขนาดตาแนวตั้ง)

2.00 หมายถึง ความกว้างของตะแกรงเหล็กกล้าเชื่อมติดเสริมคอนกรีต

50 หมายถึง ความยาวของตะแกรงเหล็กกล้าเชื่อมติดเสริมคอนกรีตทั้งแผ่น

4.00 หมายถึง ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของลวดเหล็ก

20 หมายถึง จำนวนที่สั่งผลิต หน่วยเป็นม้วนหรือแผ่น



การวางระยะทาบของ KV

มาตราฐาน ว.ศ.ท-3405 เรื่องการต่อเหล็กเสริม

ควรหลีกเลี่ยงการต่อลวดโดยใช้วิธีทาบ ณ บริเวณที่มีหน่วยแรงสูงสุด (ตำแหน่งที่ลวดนั้นรับแรงเกินกว่าครึ่งของหน่วยแรงที่ยอมให้) แต่ถ้าจำเป็นจะต้องใช้การต่อวิธีนี้ต้องมีระยะทาบของตะแกรงไม่น้อยกว่าระยะเรียงของเส้นลวด บวกอีก 5 ซม.

wire mesh

การต่อลวดตะแกรงที่รับแรงไม่เกินครึ่งหนึ่งของหน่วยแรงที่ยอมให้จะต้องมีระยะทาบไม่น้อยกว่า 5 ซ.ม.

wire mesh

อ้างอิงมาตรฐาน ว.ส.ท. -3405 การต่อเหล็กเสริม (ฉ)


สูตรการเปรียบเทียบค่าการใช้ตะแกรงเหล็ก KV Wire Mesh ทดแทนในการผูกเหล็กเส้นกลม


ใช้สูตรดังนี้

As(k.v.) = As x Fs/ (Fs (k.v.)

เมื่อ

As(k.v.) = พื้นที่หน้าตัดที่ต้องการของตะแกรงเหล็ก KV Wire Mesh(ตร.ซม./ม)

As = พื้นที่หน้าตัดของเหล็กธรรมดา (ตร.ซม./ม.)

Fs = 1,200 กก./ตร.ซม. (หน่วยแรงดึงที่ยอมให้ได้ของเหล็กธรรมดา)

Fs(k.v.) = 2,750 กก./ตร.ซม. (หน่วยแรงดึงที่ยอมให้ได้ของตะแกรงเหล็ก KV Wire Mesh)

***ตารางเปรียบเทียบการใช้ตะแกรง KV Wire Mesh ทดแทนในงานผูกเหล็กเส้นกลม***
ขนาดการผูกเหล็กเส้นกลมเดิม เหล็กเส้นกลม ตะแกรงเหล็กไวร์เมช KV Wire Mesh
เส้นศูนย์กลาง (มม.) ระยะห่าง (ซม.) พื้นที่หน้าตัด (ตร.ซม./ม.) น้ำหนัก (กก./ตร.ม.) เส้นศูนย์กลาง (มม.) ระยะห่าง (ซม.) พื้นที่หน้าตัด (ตร.ซม./ม.) น้ำหนัก (กก./ตร.ม.)
ลวดยืน ลวดขวาง ลวดยืน ลวดขวาง ลวดยืน ลวดขวาง ลวดยืน+ขวาง ลวดยืน ลวดขวาง ลวดยืน ลวดขวาง ลวดยืน ลวดขวาง ลวดยืน+ขวาง
Dia. 6mm @ 15x15 6 6 15 15 1.885 1.885 2.959 4 4 15 15 0.838 0.838 1.317
Dia. 6mm @ 20x20 6 6 20 20 1.414 1.414 2.220 4 4 20 20 0.628 0.628 0.988
Dia. 6mm @ 25x25 6 6 25 25 1.131 1.131 1.776 4 4 25 25 0.503 0.503 0.790
Dia. 6mm @ 30x30 6 6 30 30 0.942 0.942 1.479 4 4 30 30 0.419 0.419 0.658
Dia. 6mm @ 15x20 9 9 15 20 4.241 3.181 5.826 6 6 15 20 1.885 1.414 2.590
Dia. 6mm @ 20x20 9 9 20 20 3.181 3.181 4.990 6 6 20 20 1.414 1.414 2.222
Dia. 6mm @ 15x25 9 9 15 25 4.241 2.545 5.327 6 6 15 25 1.885 1.131 2.368
Dia. 6mm @ 15x30 9 9 15 30 4.241 2.121 4.990 6 6 15 30 1.885 0.942 2.222
***ตารางแสดงน้ำหนักตะแกรงเหล็ก KV Wire Mesh***
ขนาดการผูกเหล็กเส้นกลมเดิม น้ำหนักตะแกรงเหล็ก (กก./ตรม.) แบ่งตามระยะขนาดตาตะแกรง
10 x 10 10 x 15 10 x 20 10 x 25 10 x 30 15 x 15 15 x 20 15 x 25 15 x 30 20 x 20 20 x 25 20 x 30 25 x 25 25 x 30 30 x 30
4.00 1.975 1.646 1.481 1.383 1.317 1.317 1.152 1.053 0.988 0.988 0.889 0.823 0.790 0.724 0.658
4.30 2.283 1.902 1.712 1.598 1.522 1.522 1.332 1.217 1.141 1.141 1.027 0.951 0.913 0.837 0.761
4.60 2.612 2.177 1.959 1.829 1.742 1.742 1.524 1.393 1.306 1.306 1.176 1.088 1.045 0.958 0.871
5.00 3.086 2.572 2.315 2.160 2.058 2.058 1.800 1.646 1.543 1.543 1.389 1.286 1.235 1.132 1.029
5.60 3.872 3.226 2.904 2.710 2.581 2.581 2.258 2.065 1.936 1.936 1.742 1.613 1.549 1.420 1.291
6.00 4.440 3.704 3.333 3.111 2.963 2.963 2.593 2.370 2.222 2.222 2.000 1.852 1.778 1.630 1.481
6.50 5.216 4.347 3.912 3.651 3.447 3.447 3.043 2.782 2.608 2.608 2.347 2.173 2.086 1.913 1.739
7.00 6.049 5.041 4.537 4.235 4.033 4.033 3.529 3.226 3.025 3.025 2.722 2.521 2.420 2.218 2.016
***ตารางเปรียบเทียบการใช้ตะแกรง KV Wire Mesh ในงานเสริมกันแตกร้าว (Temperature Steel)***
ความหนาของคอนกรีตทับหน้า (ซม.) เหล็กเส้นกลม KV Wire Mesh
เส้นศูนย์กลาง (มม.) ระยะห่าง (ซม.) พื้นที่หน้าตัด (ตร.ซม./ม.) น้ำหนัก (กก./ตร.ม.) เส้นศูนย์กลาง (มม.) ระยะห่าง (ซม.) พื้นที่หน้าตัด (ตร.ซม./ม.) น้ำหนัก (กก./ตร.ม.)
ลวดยืน ลวดขวาง ลวดยืน ลวดขวาง ลวดยืน ลวดขวาง ลวดยืน+ขวาง ลวดยืน ลวดขวาง ลวดยืน ลวดขวาง ลวดยืน ลวดขวาง ลวดยืน+ขวาง
3 6 6 30 30 0.942 0.942 1.479 4 4 30 30 0.419 0.419 0.658
4 6 6 25 25 1.131 1.131 1.776 4 4 25 25 0.503 0.503 0.790
5 6 6 20 20 1.414 1.414 2.220 4 4 20 20 0.628 0.628 0.988
***ตารางเปรียบเทียบการใช้ตะแกรง KV Wire Mesh ในงานถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก***
ความหนาของคอนกรีตทับหน้า (ซม.) เหล็กเส้นกลม KV Wire Mesh
เส้นศูนย์กลาง (มม.) ระยะห่าง (ซม.) พื้นที่หน้าตัด (ตร.ซม./ม.) น้ำหนัก (กก./ตร.ม.) เส้นศูนย์กลาง (มม.) ระยะห่าง (ซม.) พื้นที่หน้าตัด (ตร.ซม./ม.) น้ำหนัก (กก./ตร.ม.)
กว้าง (ม.) ยาว (ม.) หนา (ม.) ลวดยืน ลวดขวาง ลวดยืน ลวดขวาง ลวดยืน ลวดขวาง ลวดยืน+ขวาง ลวดยืน ลวดขวาง ลวดยืน ลวดขวาง ลวดยืน ลวดขวาง ลวดยืน+ขวาง
2.5-3 6 12 6 6 25.0 30.0 1.131 0.942 1.627 4 4 25.0 30.0 0.503 0.419 0.724
15 6 6 20.0 30.0 1.414 0.942 1.849 4 4 20.0 30.0 0.628 0.419 0.822
3-5 10 12 6 6 10.0 30.0 2.827 0.942 2.959 6 4 20.0 30.0 1.414 0.419 1.439
15 9 9 20.0 30.0 3.181 2.121 4.162 6 6 20.0 30.0 1.414 0.942 1.849
20 9 9 17.5 30.0 3.635 2.121 4.518 6 6 15.0 30.0 1.885 0.942 2.219
***ตารางเปรียบเทียบการใช้ตะแกรง KV Wire Mesh ในงานระบบพื้นอัดแรง (Post-tensioned slab) ***
ความหนาของคอนกรีตทับหน้า (ซม.) เหล็กเส้นกลม KV Wire Mesh
เส้นศูนย์กลาง (มม.) ระยะห่าง (ซม.) พื้นที่หน้าตัด (ตร.ซม./ม.) น้ำหนัก (กก./ตร.ม.) เส้นศูนย์กลาง (มม.) ระยะห่าง (ซม.) พื้นที่หน้าตัด (ตร.ซม./ม.) น้ำหนัก (กก./ตร.ม.)
ลวดยืน ลวดขวาง ลวดยืน ลวดขวาง ลวดยืน ลวดขวาง ลวดยืน+ขวาง ลวดยืน ลวดขวาง ลวดยืน ลวดขวาง ลวดยืน ลวดขวาง ลวดยืน+ขวาง
Bonded 12 12 50 50 2.262 2.262 3.551 4 4 10 10 1.257 1.257 1.973
Unbonded 12 12 50 50 2.262 2.262 3.551 5 5 10 10 1.963 1.963 3.082

การตรวจสอบวัตถุดิบก่อนการผลิต

  ทําการวัดขนาดตรวจสอบวัตถุดิบขนาดลวดยนและลวดขวางว่าเป็นขนาดที่ต้องการหรือไม่แล้วทำการลงบันทึกการตรวจสอบลงในใบตรวจสอบ (KV-QA-P-007)

การตรวจสอบมาตรฐานผลิตภัณฑ์วายเมทระหว่างการผลิต

  วัดตรวจสอบขนาดความกว้างและความยาวของตาตะแกรงวายเมทต้องได้ค่ามาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมมอก. 737-2549 กำหนด



ตะแกรงเหล็กกล้าเชื่อมติดเสริมคอนกรีต KV Wire Mesh มีมาตรฐานในการควบคุมคุณภาพ มีการควบคุมคุณภาพในทุกกระบวนการ เริ่มตั้งแต่การตรวจรับวัตถุดิบการควบคุมในกระบวนการผลิต เช่น กระบวนการลดขนาดลวด กระบวนการตัด C/w, L/w กระบวนการเชื่อมติด (ตะแกรงสำเร็จรูป) จนไดรับ การรับรองมาตรฐานสินค้า มอก.

  มอก. 737 -2549 ตะแกรงเหล็กกล้าเชื่อมติดเสริมคอนกรีต - ชนิดทำจากลวดเหล็กกล้าดึงเย็น เสริมคอนกรีต

  มอก. 737 -2549 ตะแกรงเหล็กกล้าเชื่อมติดเสริมคอนกรีต - ชนิดทำจากลวดเหล็กกล้าข้ออ้อยดึงเย็นเสริมคอนกรีต



ครอบ

KV Wire Mesh ใช้งานได้เอนกประสงค์

ไวร์เมช KV สามารถตัดขึ้นรูปได้ง่ายและสะดวกในการใช้งานในทุกประเภทอุตสาหกรรม


การใช้งาน KV Wire Mesh


wiremesh

  พื้นคอนกรีตทุกชนิด

-   พื้นบนดิน (Slap On Ground)

-   พื้นบนคาน (Slap On Beam / Suspended Floor)

-   หลังคา (Roof Floor)


  ปูก่อนเทคอนกรีตทับหน้า (Topping Of Precast Floor)

  พื้นสำหรับงาน Post Tension

  ถนนคอนกรีต ลานจอดรถ สนามบิน

  งานดัดขี้นรูปต่าง ๆ เช่น ท่อคอนกรีตเสริมเหล็ก พื้นสำเร็จรูป คลองส่งและระบายน้ำ


Metal sheet

KV Wire Mesh ผู้ผลิตและจำหน่ายไวร์เมชคุณภาพ ได้มาตรฐาน บริการทันใจ

ขอใบเสนอราคา

ติดต่อเรา / Contact Us

208 หมู่ 9 ถนนวาริน-ศรีสะเกษ ตำบลหนองกินเพล อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี 34190

  
045-208-527
 Bluescope.ubon@gmail.com

Copyright ® 2020 ketshopweb.com